SISC : เครื่องมือวิเคราะห์

กลับหน้าศูนย์ SISC ติดต่อผู้ประสานงาน
Atomic Absorption Spectrophotometer (AAS)
Model: Thermo iCE3000seriesdatchanee
ข้อมูลจำเพาะข้อมูลตัวอย่างชนิดของธาตุที่วิเคราะห์ได้ติดต่อ
เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ชนิดและหาปริมาณธาตุ (metal content) ที่อยู่ในตัวอย่างด้วยเทคนิคการวัดการดูดกลืนแสงของอะตอม (Atomic Absorption Spectroscopy)   ซึ่งเป็นกระบวนการที่อะตอมอิสระ (free atom) ของธาตุดูดกลืน แสงที่ความยาวคลื่นระดับหนึ่งโดยเฉพาะซึ่งขึ้นอยู่กับธาตุแต่ละธาตุ
 โหมดการวิเคราะห์ 
  • Flame (Air-Acetylene, Acetylene-Nitrous oxide)
  • Graphite furnace
 สารตัวอย่างที่เป็นของเหลวหรือสารละลาย 
  1. สารละลายใส ไม่มีตะกอน และละลายอยู่ในน้ำ
  2. ปริมาณ 10 mL ต่อการวิเคราะห์ 1 ธาตุ และ 25-50 mL ต่อการวิเคราะห์ 5-7 ธาตุ
  3. บรรจุในภาชนะแก้วหรือพลาสติก
  4. ระดับปริมาณธาตุ ppb-ppm
  5. ความเข้มข้นของกรดในตัวอย่าง ไม่เกิน 10% (หลีกเลี่ยงการใช้ sulfuric acid และ HF)
 ตัวอย่างของแข็ง 
  1. ตัวอย่างที่เป็นของแข็งต้องผ่านการเตรียมให้เป็นสารละลายใส ไม่มีตะกอน และละลายอยู่ในน้ำ
  2. ปริมาณ 10 mL ต่อการวิเคราะห์ 1 ธาตุ และ 25-50 mL ต่อการวิเคราะห์ 5-7 ธาตุ
  3. บรรจุในภาชนะแก้วหรือพลาสติก
  4. ระดับปริมาณธาตุ ppb-ppm
  5. ความเข้มข้นของกรดในตัวอย่าง ไม่เกิน 10% (หลีกเลี่ยงการใช้ sulfuric acid และ HF)
Ag, Al, As, Cd, Co, Cr, Cu, Fe, Hg, K, Mn, Na, Ni, Pb, Sn, Si, Se, Sb, Sr, V, Zn, Zr, Mg, P, Te
ผู้รับผิดชอบ: ผศ.ดร.วรวิทย์ จันทร์สุวรรณ
ติดต่อ : 0846673969
E-mail: woravith.c@rmutp.ac.th

UV-Vis Spectrophotometer
Model: Shimadzu UV-1700datchanee
ข้อมูลจำเพาะข้อมูลตัวอย่างชนิดของธาตุที่วิเคราะห์ได้ติดต่อ
ใช้วัดค่าการดูดกลืนแสงในช่วงความยาวคลื่น 190-1100 nm ของสารเคมีที่ละลายได้ในตัวทำละลาย สามารถวิเคราะห์ได้ทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ

-เป็นสารละลายใส ไม่มีตะกอน


ผู้รับผิดชอบ : ผศ.ดร.วรวิทย์ จันทร์สุวรรณ
ติดต่อ : 0846673969
E-mail: woravith.c@rmutp.ac.th

UV-Vis Spectrophotometer
Model: Shimadzu UV-1800
ข้อมูลจำเพาะข้อมูลตัวอย่างชนิดของธาตุที่วิเคราะห์ได้ติดต่อ
ใช้วัดค่าการดูดกลืนแสงในช่วงความยาวคลื่น 190-1100 nm ของสารเคมีที่ละลายได้ในตัวทำละลาย สามารถวิเคราะห์ได้ทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ

-เป็นสารละลายใส ไม่มีตะกอน


ผู้รับผิดชอบ : ผศ.ดร.วรวิทย์ จันทร์สุวรรณ
ติดต่อ : 0846673969
E-mail: woravith.c@rmutp.ac.th

X-ray fluorescence
Model: Horiba MESA-50
ข้อมูลจำเพาะข้อมูลตัวอย่างชนิดของธาตุที่วิเคราะห์ได้ติดต่อผู้รับผิดชอบ
เครื่องมือ Bench Top X-ray Fluorescence สำหรับการวิเคราะห์หาปริมาณธาตุองค์ประกอบในสารตัวอย่าง โดยใช้การวัดปริมาณ X-Ray Fluorescence แบบ Energy Dispersive X-ray Fluorescence (EDXRF) ที่ปลดปล่อยออกมาจากธาตุองค์ประกอบแต่ละชนิดในสารตัวอย่าง โดยแสดงผลออกเป็น Qualitative analysis และ Quantitative analysis ได้ในตัวอย่าง ของแข็ง ของเหลวและผงได้ในระดับปริมาณ ppm ถึง %

-ของแข็งที่เป็นเนื้อเดียวกัน
-ของเหลว

-วิเคราะห์ธาตุโลหะและอโลหะ
-ข้อยกเว้น ไม่สามารถวิเคราะห์ธาตุที่มีเลขอะตอมต่ำกว่าธาตุ Al
ผู้รับผิดชอบ : ผศ.ดร.วรวิทย์ จันทร์สุวรรณ
ติดต่อ : 028363018
E-mail: woravith.c@rmutp.ac.th

Gas chromatography-Mass spectrometer (GC-MS)
Model: Shimadzu

ข้อมูลจำเพาะข้อมูลตัวอย่างชนิดของธาตุที่วิเคราะห์ได้ติดต่อผู้รับผิดชอบ
เป็นเครื่องมือสำหรับแยกวิเคราะห์หาชนิดและปริมาณสารในสภาวะแก๊ส โดยใช้ตัวตรวจวัด (Detector)  เป็นแบบเครื่องวิเคราะห์มวลสาร (Mass Spectrometer) จัดเป็นเครื่องที่ใช้เทคโนโลยี่ขั้นสูง มีความถูกต้องและความแม่นยำในการวิเคราะห์สูง สามารถวิเคราะห์สารตัวอย่างได้หลายชนิด

-ของเหลว/สารละลาย

-xxx
ผู้รับผิดชอบ : ดร.วรินธร บุญยะโรจน์
ติดต่อ : 028363000
E-mail: varinthorn.b@rmutp.ac.th

Gas chromatography (GC)
Model: Thermo / Trace GC Ultra
ข้อมูลจำเพาะข้อมูลตัวอย่างชนิดของธาตุที่วิเคราะห์ได้ติดต่อผู้รับผิดชอบ
เป็นเครื่องมือสำหรับแยกวิเคราะห์หาชนิดและปริมาณสารในสภาวะแก๊ส
  • สารละลาย

-xxx
ผู้รับผิดชอบ :
ติดต่อ :
E-mail:

 FTIR
Model: Thermo / Nicolet iS5+iD7
 
ข้อมูลจำเพาะข้อมูลตัวอย่างประเภทการวิเคราะห์ติดต่อ
เทคนิคทางด้าน Infrared (IR) Spectroscopy เป็นเทคนิคที่นิยมใช้ในการวิเคราะห์ตรวจสอบเกี่ยวกับโมเลกุลของสาร โดยอาศัยหลักการเกี่ยวกับการสั่น (Vibration) ของโมเลกุล แสงอินฟราเรดช่วงกลาง (2.5-25 micrometer) มีความถี่ตรงกับความถี่ของการสั่นของพันธะโควาเลนซ์ในโมเลกุลของสาร เมื่อสารตัวอย่างได้รับพลังงานจากคลื่นรังสีอินฟราเรดที่พอเหมาะจะเกิดการสั่นของโมเลกุล ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงค่าโมเมนต์ขั้วคู่ (Dipole Moment) ของโมเลกุล ทำให้โมเลกุลเกิดการดูดกลืนแสงแล้ววัดแสงที่ส่งผ่านออกมาแสดงผลเป็นความสัมพันธ์ของความถี่หรือ Wave Number กับค่าการส่งผ่านของแสง เรียกว่า IR Spectrum ซึ่งลักษณะสเปกตรัมการดูดกลืนแสงของสารแต่ละชนิดจะมีคุณสมบัติเฉพาะ โมเลกุลของสสารจึงสามารถดูดกลืนแสงอินฟราเรดได้ที่ความถี่ต่างกันขั้นอยู่กับความแข็งแรงของพันธะและน้ำหนักของอะตอมของ Functional Groups ในโมเลกุลนั้น ๆ
  • ของแข็ง
  • ของเหลว (ปราศจากน้ำ)

  • ATR
  • Transmission

ผู้รับผิดชอบ : ผศ.ดร.วรวิทย์ จันทร์สุวรรณ
ติดต่อ : 0846673969
E-mail: woravith.c@rmutp.ac.th

Loading