ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรวิทย์ จันทร์สุวรรณ
ปรับปรุงล่าสุด: 1 พฤศจิกายน 2563
หนังสือ เคมีวิเคราะห์ (Analytical Chemistry)
ชื่อหนังสือ : เคมีวิเคราะห์ (หลักการและเทคนิคการคำนวณเชิงปริมาณ)
ผู้แต่ง : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรวิทย์ จันทร์สุวรรณ
สำนักพิมพ์ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พิมพ์ครั้งที่ : 2
ปี พ.ศ. : 2565
……………………………
เคมีวิเคราะห์ : ศาสตร์แห่งปรัชญาเคมีที่บูรณาการความรู้พื้นฐาน เทคนิคการวิเคราะห์ และทักษะประสบการณ์ เพื่อก่อให้เกิดซึ่งองค์ความรู้ใหม่ ๆ ในด้านการวิเคราะห์สารที่สนใจในตัวอย่าง ศาสตร์แห่งเคมีวิเคราะห์ไม่เพียงแต่อาศัยหลักการทางทฤษฎีเท่านั้น แต่ยังต้องอาศัยขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ผู้ทดลองต้องเข้าใจอย่างลึกซึ้ง เพราะเราไม่อาจทราบค่าแท้จริง ความคลาดเคลื่อนต้องเกิดขึ้นน้อยที่สุดเพื่อให้มีความแม่นมากที่สุด
#เพราะเรารู้ว่ามันไม่ง่าย…แต่เราจะทำให้มันไม่ยาก
เนื้อหาหนังสือประกอบด้วย 14 บท ดังนี้
- บทที่ 1 หลักเบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์เชิงปริมาณ
- บทที่ 2 หน่วยทางเคมีและการเตรียมสารละลาย
- บทที่ 3 การชักตัวอย่างและการเตรียมตัวอย่าง
- บทที่ 4 การประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล
- บทที่ 5 การคำนวณทางเคมีวิเคราะห์
- บทที่ 6 การวิเคราะห์โดยน้ำหนัก
- บทที่ 7 ปริมาตรวิเคราะห์
- บทที่ 8 เคมีไฟฟ้าพื้นฐาน
- บทที่ 9 การไทเทรตปฏิกิริยากรด-เบส
- บทที่ 10 การไทเทรตปฏิกิริยาการเกิดตะกอน
- บทที่ 11 การไทเทรตปฏิกิริยารีดอกซ์
- บทที่ 12 การไทเทรตแบบเกิดไอออนเชิงซ้อน
- บทที่ 13 วิธีสเปกโทรสโกปีเบื้องต้น
- บทที่ 14 วิธียูวี-วิสิเบิล สเปกโทรสโกปี
ตำราเรียน วิชาเคมีสำหรับวิศวกร
คำนำ สารบัญ
หน่วยที่ 1 พื้นฐานทฤษฎีอะตอม
หน่วยที่ 2 ปริมาณสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 สมบัติพีริออดิก
หน่วยที่ 4 พันธะเคมี
หน่วยที่ 5 สมบัติของแก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย
หน่วยที่ 6 สมดุลเคมีและจลนพลศาสตร์เคมี
หน่วยที่ 7 สมดุลไอออน
บรรณานุกรม
ภาคผนวก ก หน่วย SI และหน่วยอนุพันธ์
ภาคผนวก ข สัญลักษณ์ธาตุและชื่อธาตุ
ภาคผนวก ค ตารางธาตุ
เอกสารสไลด์ Power Point
- พื้นฐานโครงสร้างอะตอม (Basic of Atomic Theory)
- ปริมาณสัมพันธ์ (Stiochiometry)
- ตารางธาตุและสมบัติพีริออดิก (Element Table and Periodic Properties)
- พันธะเคมีเบื้องต้น (Basic of Chemical Bonds)
- แก๊ส (Gases)
- ของแข็ง (Solid)
- ของเหลว (Liquid)
- สารละลาย (Solution)
- จลนศาสตร์เคมี (Kinetic Chemistry)
- อุณหเคมี (Thermochemistry)
- กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
- เคมีไฟฟ้าเบื้องต้น (Basic of Electrochemistry)
- เซลล์เคมีไฟฟ้า (Electrochemica Cell)
- การผุกร่อน (Corrosion)
- เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry)
- เคมีสีเขียว (Green Chemistry)
- สมดุลเคมี (Chemical Equilibrium)
- สมดุลกรด-เบส (Acid-Base Equilibria)
- เคมีสิ่งแวดล้อม (Enviromental Chemistry)
- สารชีวโมเลกุล (Biomolecule)
- เคมีอินทรีย์เบื้องต้น (Basic of Organic Chemistry)
- ความเข้มข้นของสารละลาย (Concentration)