Paisan Kanthang, Ph.D

ดร.ไพศาล การถาง
Dr.Paisan Kanthang
——————————————————————————————————
Contact : (+66) 0-2836-3000
E-mail : paisan.ka@rmutp.ac.th  
EducationCurrent ResearchExpertiseResearch ProjectPublication
Ph.D. (Physics) Mahidol University, Thailand  2008
M.Sc. (Physics) Mahidol University, Thailand  2004
B.Sc. (Physics) Naresuan University, Thailand  2000
  • Biophysics and System Biology
  • Biological synthesis of metallic nanoparticles
  • Agrophysics
  • Image Processing for sub-cellular level
  • Fractional Dynamics
  • Synergetics and Nonextensive Statistical Mechanics (Tsallis’s Theory)
  • Econophysics
  • Material physics for jewelry industry
  • การสังเคราะห์อนุภาคนาโนชีวภาพของโลหะ (Biological synthesis of metallic nanoparticles)
  • ชีวะฟิสิกส์เชิงการประมวลผล (Computational Biophysics)
  • กระบวนการเชิงภาพสำหรับการศึกษาเชิงชีวะฟิสิกส์ (Image processing for Biophysical studies)
  • ฟิสิกส์เชิงเกษตรกรรม (Agrophysics)
  • กลศาสตร์เชิงสถิติแบบจำกัด (Non – extensive statistical mechanics)
  • ฟิสิกส์เชิงเศรษฐศาสตร์ (Econophysics)
  • พลวัตเชิงสัดส่วน (Fractional dynamics)
  • ฟิสิกส์เชิงวัสดุสำหรับอุตสาหกรรมอัญมณี (Material physics for Jewelry Industry)
  • การสังเคราะห์โลหะระดับนาโนในรูปของเหลวเชิงชีวภาพ ด้วยการระเหยจากเลเซอร์ (Biohydronanometallurgy synthesis with Laser Ablation)
  • ฟิสิกส์ฐานการเรียนรู้เชิงลึกและการเรียนรู้ของเครื่อง (Physics-Based Deep Learning and Machine Learning: PBDL&ML)
  • เทคโนโลยีเชิงเกษตรกรรม (Agricultural Technology: AgriTech)
  • หุ่นยนต์วิทยาศาสตร์ (Science Robotics)
  • อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งและการออกแบบผลิตภัณฑ์ (Internet of Things and Product Design)
  • การประมวลผลเสมือนมนุษย์ (Cognitive computing)
  • การวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data Analytics)

ชื่อโครงการวิจัย ​: การพัฒนาชุดตรวจวัดการแตกหักของเมล็ดข้าวด้วยเทคนิคทางแสงและกระบวนการเชิงภาพ (Development of rice kernel cracking detector with optical technique and image processing)
สาขาวิชาการ : เกษตรศาสตร์และชีววิทยา
ประเภทการวิจัย : การวิจัยประยุกต์ (Applied research)
ปีงบประมาณ : 2558
ผู้วิจัย : ดร.ไพศาล การถาง

ชื่อโครงการวิจัย ​: การศึกษาปริมาณทางกลศาสตร์เชิงลึกสำหรับเมล็ดข้าวกล้อง (The intensive study of mechanical quantities for brown rice kernel)
สาขาวิชาการ : เกษตรศาสตร์และชีววิทยา
ประเภทการวิจัย : การวิจัยประยุกต์ (Applied research)
ปีงบประมาณ : 2558
ผู้วิจัย : ดร.ไพศาล การถาง

ชื่อโครงการวิจัย ​: ารศึกษาและพัฒนาจุลินทรีย์ที่มีศักยภาพในการปรับปรุงคุณภาพเงินในระดับนาโน (The Study and Development of Certain Microorganisms with High Capability in Nanosilver Particle Biosynthesis)
สาขาวิชาการ : วิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย
ประเภทการวิจัย : การวิจัยประยุกต์ (Applied research)
ปีงบประมาณ : 2556
ผู้วิจัย : ดร.ไพศาล การถาง

ชื่อโครงการวิจัย ​: กระบวนการเชิงภาพที่เหมาะสมสำหรับการศึกษาเมล็ดข้าวเปลือก: การจำแนกสายพันธุ์ และ การตรวจสอบความผิดปกติของเมล็ดข้าว (The optimal image processing for paddy studies: Variety classification and rice kernel damage inspection)
สาขาวิชาการ : วิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์
ประเภทการวิจัย : การวิจัยประยุกต์ (Applied research)
ปีงบประมาณ : 2556
ผู้วิจัย : ดร.ไพศาล การถาง

ชื่อโครงการวิจัย ​: โครงการนําร่องเพื่อศึกษาและประเมินถึงทักษะการคิดเชิงวิจารณญาณและการวิเคราะห์ใช้เหตุผลของนักศึกษาระดับปริญญาตรี และเสนอหาแนวทางในการส่งเสริม
สาขาวิชาการ : วิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์
ประเภทการวิจัย : การวิจัยพื้นฐาน (Basic research)
ปีงบประมาณ : 2555
ผู้วิจัย : ดร.ไพศาล การถาง

ชื่อโครงการวิจัย ​: การหมักเปลือกทุเรียนแบบกึ่งแห้งเพื่อผลิตไบโอเอทานอล (A semi-Solid State Fermentation of Bioethanol using Durian Fruit-Hull as Nutrient Source)
สาขาวิชาการ : เกษตรศาสตร์และชีววิทยา
ประเภทการวิจัย : การวิจัยพื้นฐาน (Basic research)
ปีงบประมาณ : 2554
ผู้วิจัย : ดร.ไพศาล การถาง

ชื่อโครงการวิจัย ​: การศึกษาจุลินทรีย์จากเปลือกผลไม้ทุเรียนและเปลือกมังคุดที่มีศักยภาพในการสร้างสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ
สาขาวิชาการ : การศึกษา
ประเภทการวิจัย : การวิจัยพื้นฐาน (Basic research)
ปีงบประมาณ : 2553
ผู้ร่วมวิจัย : ดร.ไพศาล การถาง

ชื่อโครงการวิจัย ​: การสร้างนวัตกรรมสำหรับวัดความแกร่งของเมล็ดข้าวด้วยวิธีการอัดความดันจากภายใน (The innovation construction for the toughness measurement of rice kernel with the inner pressure method)
สาขาวิชาการ : วิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์
ประเภทการวิจัย : การพัฒนาทดลอง (Experimental development)
ปีงบประมาณ : 2552
ผู้วิจัย : ดร.ไพศาล การถาง

ชื่อโครงการวิจัย ​: การพัฒนาแบบจำลองเซลลูลาร์ ออโตมาตาเพื่อศึกษาอัตราการเจริญเติบโตของต้นข้าวและทำนายผลผลิตข้าวในแปลงนาที่เพาะปลูกด้วยระบบการเพิ่มผลผลิตสำหรับข้าวขาวดอกมะลิ 105
แหล่งทุน : มหาวิทยาลัยมหิดล ปี 2559-2560
ผู้ร่วมวิจัย : ดร.ไพศาล การถาง

ชื่อโครงการวิจัย ​: การศึกษาประสิทธิภาพการทำงานของแบคทีเรียในนาข้าวปนเปื้อนเงินนาโน
แหล่งทุน : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ปี 2558-2559
ผู้ร่วมวิจัย : ดร.ไพศาล การถาง

ชื่อโครงการวิจัย ​: การผลิตก๊าซชีวภาพที่มีคุณภาพเพื่อการใช้อย่างยั่งยืนในชุมชนบ้านถ้ำเสือ จ. เพชรบุรี
แหล่งทุน : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ปี 2558-2559
ผู้ร่วมวิจัย : ดร.ไพศาล การถาง

ชื่อโครงการวิจัย ​: การพัฒนาชุดตรวจวัดการแตกหักของเมล็ดข้าวด้วยเทคนิคทางแสงและกระบวนการเชิงภาพ (Development of rice kernel cracking detector with optical technique and image processing)
แหล่งทุน: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ปี 2557-2558
ผู้วิจัย : ดร.ไพศาล การถาง

ชื่อโครงการวิจัย ​: ความสัมพันธ์และประโยชน์ของจุลินทรีย์ในดินนาข้าวที่มีต่อข้าวพันธุ์พื้นเมือง ที่ อ. สนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา
แหล่งทุน : สกอ. ปี 2557-2558
ผู้ร่วมวิจัย : ดร.ไพศาล การถาง

ชื่อโครงการวิจัย ​: การพัฒนาและศึกษาจุลินทรีย์ที่มีศักยภาพในการปรับปรุงคุณภาพเงินในระดับนาโน (The Study and Development of Certain Microorganisms with High Capability in Nanosilver Particle Biosynthesis)
แหล่งทุน: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ปี 2555-2556
ผู้วิจัย : ดร.ไพศาล การถาง

ชื่อโครงการวิจัย ​: การศึกษาเชื้อราที่มีศักยภาพในการสกัดเงินเพื่อการนำกลับมาใช้ใหม่ (The Study of fungi with High Capability in silver refining) 
แหล่งทุน: โครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย ปี 2555-2556
ผู้วิจัย : ดร.ไพศาล การถาง

ชื่อโครงการวิจัย ​: การศึกษาเชื้อราที่มีศักยภาพในการสกัดทองคำเพื่อการนำกลับมาใช้ใหม่ (The Study of fungi with High Capability in gold refining)
แหล่งทุน: โครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย ปี 2555-2556
ผู้วิจัย : ดร.ไพศาล การถาง

ชื่อโครงการวิจัย ​: การศึกษาแบคทีเรียที่มีศักยภาพในการสกัดเงินเพื่อการนำกลับมาใช้ใหม่ (The Study of bacteria with High Capability in silver refining)
แหล่งทุน: โครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย ปี 2555-2556
ผู้วิจัย : ดร.ไพศาล การถาง

ชื่อโครงการวิจัย ​: การศึกษาแบคทีเรียที่มีศักยภาพในการสกัดทองคำเพื่อการนำกลับมาใช้ใหม่ (The Study of bacteria with High Capability in gold refining)
แหล่งทุน: โครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย ปี 2555-2556
ผู้วิจัย : ดร.ไพศาล การถาง

ชื่อโครงการวิจัย ​: การศึกษากรรมวิธีการ Refine ทองคำ จากบ่อบำบัดน้ำเสีย (The study of gold refining process from jewelry factories)
แหล่งทุน: โครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย ปี 2554-2555
ผู้วิจัย : ดร.ไพศาล การถาง

ชื่อโครงการวิจัย ​: การศึกษากรรมวิธีการ Refine เงิน จากบ่อบำบัดน้ำเสียภายในโรงงาน (The study of silver refining process from jewelry factories)
แหล่งทุน: โครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย ปี 2554-2555
ผู้วิจัย : ดร.ไพศาล การถาง

ชื่อโครงการวิจัย ​: การศึกษาสมบัติเบ้าแกรไฟต์สำหรับการหลอมเงิน ทอง และอลูมิเนียม : ระยะที่ 2 (The study of graphite properties for melting of gold, silver and aluminum: Phase II)
แหล่งทุน: โครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทยปีงบประมาณ ปี 2553-2554
ผู้วิจัย : ดร.ไพศาล การถาง

ชื่อโครงการวิจัย ​: การศึกษาสมบัติเชื่อมประสานชิ้นส่วนเครื่องประดับเงินด้วยเลเซอร์ (The study of bonding properties of silver jewelry Pieces with a Laser)
แหล่งทุน: โครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทยปีงบประมาณ ปี 2553-2554
ผู้วิจัย : ดร.ไพศาล การถาง

ชื่อโครงการวิจัย ​: การสร้างนวัตกรรมสำหรับวัดความแกร่งของเมล็ดข้าวด้วยวิธีการอัดความดันจากภายใน(The innovation construction for the toughness measurement of rice kernel with the inner pressure method)
แหล่งทุน : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ปี 2552-2553
ผู้วิจัย : ดร.ไพศาล การถาง

ชื่อโครงการวิจัย ​: การศึกษาสมบัติเบ้าแกรไฟต์สำหรับการหลอมเงิน ทอง และอลูมิเนียม : ระยะที่ 1 (The study of graphite properties for melting of gold, silver and aluminum: Phase I)
แหล่งทุน: โครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย ปี 2552-2553
ผู้วิจัย : ดร.ไพศาล การถาง

ชื่อโครงการวิจัย ​: การพัฒนาเชื้อราที่มีศักยภาพในการสกัดเงินเพื่อการนำกลับมาใช้ใหม่ (The Study and Development of Certain Microorganisms with High Capability in Nanosilver Particle Biosynthesis)
แหล่งทุน: โครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย ปี 2556-2557
ผู้วิจัย : ดร.ไพศาล การถาง

ชื่อโครงการวิจัย ​: การพัฒนาเชื้อราที่มีศักยภาพในการสกัดทองคำเพื่อการนำกลับมาใช้ใหม่ (The Development of fungi with High Capability in gold refining)
แหล่งทุน: โครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของ
อุตสาหกรรมไทย (Industrial Technology Assistance Program: iTAP) ปี 2556-2557
ผู้วิจัย : ดร.ไพศาล การถาง

ชื่อโครงการวิจัย ​: การพัฒนาแบคทีเรียที่มีศักยภาพในการสกัดเงินเพื่อการนำกลับมาใช้ใหม่ (The Development of bacteria with High Capability in silver refining)
แหล่งทุน: โครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย (Industrial Technology Assistance Program: iTAP) ปี 2556-2557
ผู้วิจัย : ดร.ไพศาล การถาง

ชื่อโครงการวิจัย ​: การพัฒนาแบคทีเรียที่มีศักยภาพในการสกัดทองคำเพื่อการนำกลับมาใช้ใหม่ (The Development of bacteria with High Capability in silver refining)
แหล่งทุน: โครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย (Industrial Technology Assistance
Program: iTAP)  ปี2556-2557
ผู้วิจัย : ดร.ไพศาล การถาง

ชื่อโครงการวิจัย ​: การศึกษาและพัฒนาระบบการอบแห้งข้าวเปลือกด้วยพาหะลมร้อน-เย็นและเกลียวลำเลียง (Studyand development of paddy drying system with hot-cool pneumatic and screw conveyor)
แหล่งทุน : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ปี 2556-2557
ผู้ร่วมวิจัย : ดร.ไพศาล การถาง

ชื่อโครงการวิจัย ​: ซิลิกาแอโรเจลจากขี้เถ้าแกลบ: ฉนวนกันความร้อนเพื่อการประหยัดพลังงาน (Silica Aerogel from Rich Husk Ash: Insulating Materials for Buildings Energy Saving)
แหล่งทุน : สวทช.-กฟผ. (CPMO) ปี 2555-2556
ผู้ร่วมวิจัย : ดร.ไพศาล การถาง

ชื่อโครงการวิจัย ​: การศึกษาถึงผลกระทบของอนุภาคนาโนไทเทเนียมไดออกไซด์ต่อระบบเชิงชีวภาพและการประยุกต์ใช้ : เชื้อโรคฉี่หนู (The studies of the Effects of Titanium dioxideNanoparticles on Biological Systems and Applications: LeptospiraInterrogans.)
แหล่งทุน : Mid – career Researcher Development Grants,Mahidol University ปี 2548-2549
ผู้ร่วมวิจัย : ดร.ไพศาล การถาง

ชื่อโครงการวิจัย ​: การพัฒนา แบบจำลองพลวัตโปรตีน สำหรับการแบ่งเซลล์ (Developing protein dynamic models for cell division)
แหล่งทุน: ศูนย์ความเป็นเลิศด้านฟิสิกส์ (ThEP Center)  ปี 2553-2554
ผู้ร่วมวิจัย : ดร.ไพศาล การถาง

ชื่อโครงการวิจัย ​: วิจัยและพัฒนาด้านชีวฟิสิกส์เชิงบูรณาการ (Research and Development Program for integrated Biophysics)
แหล่งทุน : ศูนย์ความเป็นเลิศด้านฟิสิกส์ (ThEP Center) ปี 2553-2556
ผู้ร่วมวิจัย : ดร.ไพศาล การถาง

 

  • Wangdi D, Kanthang P, and Precharattana M. 2017. Development of a hands-on model embedded with guided inquiry laboratory to enhance students’ understanding of law of mechanical energy conservation. Asia-Pacific Forum on Science Learning and Teaching. 18(2), 1-26.
  • Nicomrat D, Kanthang P, and Chamutpong S. 2017. The Relationships among Microorganisms in Paddy Soil of Rice Varieties at Sanamchaikate, Chachoengsao. Applied Mechanics and Materials. 866, 144-147.
  • Kanthang P. 2017. The Flour Processing Machine for Musa sapientum Linn. Applied Mechanics and Materials. 866, 85-87.
  • Kanthang P. 2017.  The Study and Screening of Bacteria for Silver Nanoparticle Biosynthesis. Applied Mechanics and Materials. 866, 45-47.
  • Kanthang P. 2017. Image Enhancement for Characterization of MinD Protein Oscillation in Escherichia coli. 866, 41-44.
  • Nicomrat D, Tharajak J, and Kanthang P. 2016. Pesticides Contaminated in Rice Paddy Soil Affecting on Cultivated Microorganism Community. Applied Mechanics and Materials. 848, 135-138.
  • Nicomrat D, Tharajak J, and Kanthang P. 2016. Microbial Comparison in Synthesizing Gold Nanoparticles for Harvesting Gold in Wastewater System. Applied Mechanics and Materials. 848,  52-55.
  • Saengpayab Y, Kanthang P, Schreier S, Modchang C, Nuttavut N, Triampo D, and Triampo W. 2015. Biophysical approach to investigate temperature effects on protein dynamics. EPJ Applied Physics. 71(3), 10.
  • Vuttivorakulchai K, Kanthang P, and Saiz Rivera A. 2011. The physics aspect of price index changes: Super- diffusive approach. International Journal of Physical Science. 6, 5850–5856. 
  • Aroonnual S, Ngamsaad W, Kanthang P, Nuttawut N, Triampo W, Triampo D, and Krittanai C. 2011. Spatial distributions and energy landscape of MinE protein dynamics via the biophysical spot tracking technique. International Journal of Physical Sciences. 6(15), 3733-3744.
  • P. KanthangW. NgamsaadN. NuttavutW. TriampoD. Triampo,  and C. and Krittanai. 2011. Biophysical approach for studying the MinD protein dynamics and energy landscape: a novel use of the spot tracking technique. The European Physical Journal-Applied Physics. 55(1), 8.
  • Chadsuthi S., Triampo W., Modchang C., Kanthang P., Triampo D., and Nuttavut N. 2011. Stochastic modeling and combined spatial pattern analysis of epidemic spreading. 51, 1048-1055.
  • Waipot Ngamsaad, Paisan Kanthang, Charin Modchang, Somchai Sriyab, and Wannapong Triampo. 2010. The effect of boundary conditions on the mesoscopic lattice Boltzmann method: Case study of a reaction–diffusion based model for Min-protein oscillation. Applied Mathematics and Computation. 217(6), 2339-2347.
  • Yojina J, Ngamsaad W, Nuttavut N, Triampo D, Lenbury Y, Kanthang P, Sriyab S, and Triampo W.2010. Investigating flow patterns in a channel with complex obstacles using the lattice Boltzmann method. Journal of Mechanical Science and Technology. 24(10), 2025-2034. 
  • Yojina J, Ngamsaad W, Nuttavut N, Triampo D, Lenbury Y, Triampo W, Kanthang P and Sriyab S. 2010. More Realistic Model for Simulating Min Protein Dynamics: Lattice Boltzmann Method Incorporating the Role of Nucleoids.World Academy of Science, Engineering and Technology. 43, 458-463
  • Ngamsaad W, Yojina J, Kanthang P, Modchang C, Krittanai C, Triampo D, Nuttawut N, and Triampo W. 2009. Quantitative approach of Min protein researches and applications: Experiments, mathematical modeling and computer simulations. African Journal of Biotechnology. 8(25), 7350-7362.
  • Sriyab S, Yojina J, Ngamsaad W, Kanthang P, Modchang C, Nuttavut N, Lenbury Y, Krittanai C, and Triampo W. 2009. Mesoscale modeling technique for studying the dynamics oscillation of Min protein: Pattern formation analysis with lattice Boltzmann method. Computers in Biology and Medicine. 39, 412-424.
  • Unai S, Kanthang P, Junthon U, Ngamsaad W, Triampo W, Modchang C, and Krittanai C. 2009.  Quantitative analysis of time-series fluorescence microscopy using a spot tracking method: application to Min protein dynamics. Biologia. 64, 27-42. 
  • Aroonnual S, Kanthang P, and Triampo W. 2009. Fractional diffusion-advection and pattern formations of MinE Protein dynamics in Escherichia coli: experiments and theories. The International Conference on Computational & Experimental Engineering and Sciences. 13(3), 53 – 54.
  • Junthorn U, Unai S, Kanthang P, Ngamsaad W, Modchang C, Triampo W, Krittanai C, Triampo D, and Lenbury Y. 2008. Single-Particle Tracking Method for Quantitative Tracking and Biophysical Studies of the MinE Protein. Journal- Korean Physical Society. 52, 639-648.
  • Modchang C, Triampo W, Kanthang P, Junthorn U, Unai S, Ngamsaad W, Nuttavut N, Triampo D, and Lenbury Y. 2008. Stochastic Modeling of External Electric Field Effect on Escherichia coli Min Protein Dynamics. Journal- Korean Physical Society. 53, 851-862.
  • Ngamsaad W, Triampo W, Kanthang P, Modchang C, Nuttavut N, Tang IM, and Lenbury Y. 2005.  A lattice Boltzann method for modeling the dynamic pole-to-pole oscillations of Min proteins for determining the position of the mid-cell division plane. Journal-Korean Physical Society. 46, 1025-1030.
  • Modchang C, Kanthang P, Triampo W, Ngamsaad W, Nuttavut N, Tang IM, and Lenbury Y. 2005. Modeling of the Dynamic Pole-to-Pole Oscillations of the Min Proteins in Bacterial Cell Division: The Effect of an External Field. Journal- Korean Physical Society. 46, 1031-1036.

ประชุมวิชาการ

  • Yodyingyong S., Triampo D., Triampo W., Kanthang P. 2014. A Cost-Effective Synthesis of Silica Aerogel by Ambient Pressure Drying Route. International Seminar on AEROGELS – 2014 on Hamburg, Germany, October 6- 7, 2014,
  • Yodyingyong S., Triampo D., Triampo W., Kanthang P. 2014. Rapid synthesis of Silica Aerogel by Ambient Pressure Drying Route, 2014 MRS Spring Meeting & Exhibit,San Francisco, California, USA, April 21-25, 2014,
  • Charoenbhakdi S., Kanthang P. 2012. Quantitative Spatio-Temporal Dynamics Research of GFP-Min Proteins By Using Spot Tracking Technique. 38th Congresson Science and Technology of Thailand (STT.38),Chiang Mai University, Thailand, October 11-19, 2012,
  • Nicomrat D., Chadathorn P., Kanthang P., Ritthong W. 2012. A PCR machine prototype using liquid heat transfer system. 38th Congresson Science and Technology of Thailand (STT.38), Chiang Mai University, Thailand, October 11-19, 2012,
  • Seeha P., Rooraksa A., Pramaingam S., Waiyawut W., Kanthang P. 2012. The pneumatic mechanical tools for classification of five commercial rice varieties. The First ASEAN Plus Three Graduate Research Congress (AGRC), Chiang Mai University, Thailand, March 1 – 2, 2012,
  • Chaiyasitdhi A., Vuttivorakulchai K., Kanthang P.2012. The Biophysical Aspects of the Temperature Preferendum Behavior in Field Crickets, Gryllus assimilis. Biodiversity 2011,BIOTEC, Thailand, February 2, 2012,
  • Chaiyawong C, Keawlawiang K, Sangkarat C, Niconrat D, Chysiri T, Triampo W, Kanthang P. 2011. Pneumatic system for the real-time mechanical stress-strain characteristics of short and long rice kernels. 37th Congresson Science and Technology of Thailand (STT.37), Mahidol University, Thailand, October 12, 2011,
  • Keawlawiang K, Chaiyawong C, Sangkarat C, Niconrat D, Chysiri T, Triampo W, Kanthang P. 2011. The mechanical properties for classification of five commercial rice varieties in Chiangrai province of Thailand. 37th Congresson Science and Technology of Thailand (STT.37), Mahidol University, Thailand, October 12, 2011,
  • Sangkarat C, Chaiyawong C, Keawlawiang K, Thongpang S, Korkeattrakoon P, Eawsakui N, Niconrat D, Chysiri T, Triampo W, Kanthang P. 2011. The real-time analysis for the mechanical properties of red bean grains. 37th Congresson Science and Technology of Thailand (STT.37), Mahidol University, Thailand, October 12, 2011,
  • Chaiyawong C, Winitchat S, Leekrajang P, Kanthang P, Nicomrat D. 2011. An effective approach for bioethanol detection of grass fermentation by an in-house alcohol detector. 37th Congresson Science and Technology of Thailand (STT.37), Mahidol University, Thailand, October 12, 2011,
  • Winitchat S, Chaiyawong C, Leekrajang P, Kanthang P, Nicomrat D. 2011. Effectiveness of a disc diffusion method in screening antibacterial substances producing microorganisms on durian peels. 37th Congresson Science and Technology of Thailand (STT.37), Mahidol University, Thailand, October 12, 2011,
  • Aroonnual S, Kanthang P, and Triampo W. 2011. Dynamics and pattern formation of the MinE protein in E.coli. The 6th Siam Physics Congress (SPC2011), The Ambassador City Jomtien Hotel, Pattaya, Chonburi, Thailand, March 23–26, 2011,
  • Vuttivorakulchai K, Kanthang P and Saiz A. 2010. The Behavioral Dynamics of Price Index Changes of Stock Markets: Physics Approach, the 6th Econophysics Colloquium 2010, Asia Pacific Center for Theoretical Physics, National Science Council, International Review of Financial Analysis, Academia Sinica, Taipei, Taiwan, November 4-6, 2018,
  • Vuttivorakulchai K, Kanthang P and Saiz A. 2010.The Study of Behavior of Stock Market Price Change Indices Dynamics by Physics Approach, the 2nd Thailand Research Expo 2010, National Research Council of Thailand, Bangkok Convention Centre, Bangkok, Thailand, August 26-30, 2010,
  • Reunsumrit J and Kanthang P. 2010. Lattice Boltzmann method for simulating Min protein dynamics incorporating the role of nucleoids. The First TSME International Conference on Mechanical Engineering, Ubon Ratchathani, Thailand, 20-22 October, 2010,
  • Kanthang P and Triampo W. 2009. Biophysical Study of MinD Protein: Spot Tracking and Pole-to-Pole oscillatory dynamics. 35th Congresson Science and Technology of Thailand (STT.35),Burapha University, Thailand, October 15, 2009,
  • Kanthang P, Nattavut N and Triampo W. 2008. Image Enhancement for Characterization of Protein Oscillation in Cell Division Process of coli. The 33rd National Conference on Optics and Applications (NCOA), Srinakharinwirot University and King Mongkut’s University of Technology (Thonbiri), Thailand, October 15, 2008,
  • Unai S, Kanthang P, Junthorn U, Ngamsaad W, Nattavut N, Triampo W and Krittanai C. 2007. Single particle tracking: application to study MinD protein oscillation in live. Escherichia coli. 33rd Congress on Science and Technology of Thailand (STT.33), Walailak University, Nakhon Si Thammarat, Thailand, October 18 – 20, 2007,
  • Junthorn U, Unai S, Kanthang P, Ngamsaad W, Triampo W, Modchang C, Krittanai C, and Lenbury Y. 2007. How to track MinE protein oscillations in Escherichia coli” 33rd Congresson Science and Technology of Thailand (STT.33), Walailak University, Nakhon Si Thammarat, Thailand, October 18 – 20, 2007
  • Unai S, Khantang P, Junthorn U, Ngamsaad W, Nattavut N, Triampo W, and Krittanai C. 2007. Biophysical Study of MinD Protein Oscillation in coli. Siam Physics Congress 2007, Nakorn Pathom, Thailand, March 22 –24,
  • Ngamsaad W, Triampo W, Kanthang P, Tang IM, Nuttawut N, and Modjung C. 2005. A lattice Boltzmann method for modeling the dynamic pole-to-pole oscillations of min proteins for determining the position of the midcell division plane 2nd International Conference on Mesoscopic Methods in Engineering and Science (ICMMES), the Hong Kong Polytechnic University (HKPU), Hong Kong, China, July 26-29, 2005,

Research Member

  • R&D Biological and Environmental Physics Group, Mahidol University
  • American Association for the Advancement of Science
scopus_logo

Loading