1. กลุ่มวัสดุฉลาดคือวัสดุที่สามารถรับรู้และตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงได้ เช่น เซนเซอร์ วัสดุจำรูป
2. กลุ่มวัสดุพอลิเมอร์ เช่น ยาง พลาสติก เป็นต้น
การนำวิชาการทางด้านวัสดุศาสตร์ไปใช้งานทางด้านวิศวกรรมอย่างกว้างขวางทำให้เกิดนิยามของวิชาการสาขานี้ใหม่เป็น “วัสดุศาสตร์และวิศวกรรม” วัสดุที่คิดค้นและประดิษฐ์ขึ้นใหม่ ทำให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ หรือไม่ก็เกิดอุตสาหกรรมใหม่ อุตสาหกรรมเหล่านี้จำเป็นต้องมีนักวิทยาศาสตร์หรือวิศวกรสาขาวัสดุศาสตร์คอยดูแลแก้ไขปัญหาและวิจัยวัสดุใหม่ๆอย่างต่อเนื่อง ในอุสาหกรรมนักวัสดุศาสตร์จะมีบทบาทในส่วนของ การออกแบบวัสดุ (materials design) การประเมินค่าใช้จ่ายในการผลิตวัสดุนั้นๆ ดูแลกระบวนการทางเทคนิคซึ่งประกอบด้วย การหล่อ การม้วน การเชื่อม การใส่ประจุ การเลี้ยงผลึก การลอกฟิล์ม (thin-film deposition) การเป่าแก้ว เป็นต้น และเทคนิคการวิเคราะห์โดยใช้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน การเอ็กซเรย์ เป็นต้น ประเภทของวัสดุวัสดุศาสตร์สามารถแบ่งออกได้เป็นสาขาวิชาตามประเภทของวัสดุ ได้แก่ โลหะวัสดุผสมสารกึ่งตัวนำ เซรามิกพอลิเมอร์วัสดุชีวภาพ วัสดุเชิงก้าวหน้าวัสดุฉลาด
หัวหน้าสาขาวิชา
ดร.จิระศักดิ์ ธาระจักร์
Dr.Jirasak Tharajak
ตำแหน่ง : หัวหน้าวิชาวัสดุศาสตร์อุตสาหกรรม
Email : jirasak.t@rmutp.ac.th
รองศาสตราจารย์ ดร.วิไลวรรณ ลีนะกุล Assoc. Prof. Dr.Wilaiwan Leenakal E-mail : wilaiwan.l@rmutp.ac.th |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กัลทิมา เชาว์ชาญชัยกุล Asst. Prof. Dr.Kantima Chaochanchaikul E-mail : kantima.c@rmutp.ac.th |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิยะพงษ์ ปานแก้ว Asst. Prof. Dr.Piyapong Pankaew Email : piyapong.p@rmutp.ac.th |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนพงศ์ สารีอินทร์ Asst. Prof. Dr.Thanapong Sareein Email : thanapong.s@rmutp.ac.th |
ดร.ภูมิรัตน์ นวรัตน์ Dr. Poomirat Nawarat Email : Poomirat.n@rmutp.ac.th |
ดร.พลกฤษณ์ คุ้มกล่ำ Dr.Ponlakrit Kumklam Email : ponlakrit.k@rmutp.ac.th |