Assoc.Prof.Dr.Wilaiwan Leenakul,Ph.D

รองศาสตราจารย์ ดร.วิไลวรรณ ลีนะกุล
Assoc.Prof Dr.Wilaiwan Leenakul

Email : wilaiwan.l@rmutp.ac.th
Contact : 02-836-3000 ต่อ 7510

 

Education

Ph.D. (Industrial Materials Science) Chaing Mai University, Thailand.2013
M.Eng. (Energy Engineering) Chaing Mai University, Thailand.2009
B.Sc. (Materials Science) Chaing Mai University, Thailand.2007

 

Current Research

  • การสังเคราะห์แคลเซียมจากกระดูกสัตว์สำหรับการผลิตแก้วคริสตัลสี (Synthesis Calcium from Bone for Production of Colored Crystal Glasses)

 

Expertise

  • วิทยาศาสตร์ของแก้ว(Glass Science)
  • วัสดุเชิงประกอบ (Composite materials)
  • วัสดุเซรามิก (Ceramic Material)
  • วัสดุแก้วเซรามิก (Glass Ceramics Material)

 

Research Project

หน่วยงานผู้ให้ทุน: สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว) เดิม สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว)
1. ทุนส่งเสริมพัฒนาศักยภาพอาจารย์รุ่นใหม่ ปี 2559 สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) เรื่อง การศึกษาจลศาสตร์ของแก้วและการแปลงเฟสแก้วเซรามิกชีวภาพที่ประกอบด้วยเฟอร์โร/เฟอรีแมกเนติกคริสตัลระดับนาโนโดยกระบวนวิธีโมดิฟายด์อินคอเปอเรชันCrystallization Kinetic and Phase Formation Studies of Ferro/ferrimagnetic Nano-Crystals in Bioactive Glasses by Modified Incorporation Method
2. ทุนส่งเสริมนักวิจัยรุ่นใหม่ ปี 2557 สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) เรื่อง การประดิษฐ์แก้วเซรามิกชีวภาพที่ประกอบด้วยเฟอร์โร/เฟอริแมกเนติกคริสตัลระดับนาโน Fabrication of bioactive glass-ceramics containing ferro/ferrimagnetic nanocrystals

หน่วยงานผู้ให้ทุน: คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช)
1. ทุน วช. : เทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรมด้านวัสดุนาโนและนาโนเทคโนโลยี ปี 2564 เรื่อง การพัฒนาคุณสมบัติของเซรามิกครอบฟันชนิดลิเทียมไดซิลิเกตตามมาตรฐานการค้าสำหรับใช้งานในทางทันตกรรม
2. ทุน วช. : เทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรมด้านวัสดุนาโนและนาโนเทคโนโลยี ปี 2563 รื่อง การทดสอบสมบัติของต้นแบบฟันเทียมติดแน่นบางส่วนชนิดลิเทียมไดซิลิเกตตามมาตรฐาน ISO 6872 (ปีที่ 2)
3. เงินงบประมาณแผ่นดิน : ทุนงบประมาณแผ่นดินประจำปี 2562 (งบบูรณาการวิจัยและนวัตกรรม) ปี 2562 ทุนร่วมกับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่อง ผลของการเติมสารให้สีต่อสมบัติทางกายภาพ เชิงกลและการยึดติดของครอบฟัน เซรามิกชนิดลิเทียมไดซิเลิเกต โดยเทคนิคการพิมพ์แบบสามมิติ
4. ทุนงบประมาณแผ่นดินประจำปี 2562 (งบบูรณาการวิจัยและนวัตกรรม) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่อง การสังเคราะห์และพัฒนาแก้วเซรามิกชนิดลิเทียมไดซิลิเกตสำหรับประยุกต์ใช้ในทางทันตกรรม โดยใช้เทคโนโลยีการพิมพ์แบบสามมิติ
5. ทุนเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรมด้านวัสดุนาโน (โครงการต่อเนื่อง) ปีงบประมาณ 2561 กองบริหารแผนและงบประมาณการวิจัย (กบง.) เรื่อง การศึกษาโครงสร้างกายภาพและสมบัติเชิงกลของแก้วเซรามิกชนิดลิเทียมไดซิลิเกตสำหรับการประยุกต์ใช้ในทางทันตกรรม
6. ทุนวิจัยพื้นฐาน ปีงบประมาณ 2559 เทคโนโลยีอุตสาหกรรมด้านวัสดุนาโนทุนวิจัยพื้นฐาน ปีงบประมาณ 2559 กองบริหารแผนและงบประมาณการวิจัย (กบง.) เรื่อง การประดิษฐ์แก้วเซรามิกชนิดไฮดรอกซีอะพาไทต์ที่มีการเติมเซอร์โคเนียมสำหรับการประยุกต์ใช้ในทางทันตกรรม

ชื่อโครงการวิจัย ​: การสังเคราะห์แคลเซียมจากกระดูกสัตว์สำหรับการผลิตแก้วคริสตัลสี (Synthesis Calcium from Bone for Production of Colored Crystal Glasses)
สาขาวิชาการ : วิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย
ประเภทการวิจัย : การวิจัยประยุกต์ (Applied research)
ปีงบประมาณ : 2565
ผู้วิจัย : ผศ.ดร.วิไลวรรณ ลีนะกุล

ชื่อโครงการวิจัย ​: การเพิ่มมูลค่าของเหลือใช้ทางการเกษตรจากแกลบข้าวและกระดูกสัตว์เพื่อผลิตเป็นแก้วคริสตัลสีสำหรับอุตสาหกรรมอัญมณี (The value added utilization of rice husk and bone in producing of color crystals glasses for jewelry industry)
สาขาวิชาการ : วิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์
ประเภทการวิจัย : การวิจัยประยุกต์ (Applied research)
ปีงบประมาณ : 2564
ผู้วิจัย : ผศ.ดร.วิไลวรรณ ลีนะกุล

ชื่อโครงการวิจัย ​: การผลิตแก้วคริสตัลสีจากของเหลือใช้ทางการเกษตรสำหรับใช้ในอุตสาหกรรมเครื่องประดับ
สาขาวิชาการ : วิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย
ประเภทการวิจัย : การวิจัยพื้นฐาน (Basic research)
ปีงบประมาณ : 2563
ผู้วิจัย : ผศ.ดร.วิไลวรรณ ลีนะกุล

ชื่อโครงการวิจัย ​: อิทธิพลของหมู่อิพอกไซด์ในยางธรรมชาติอิพอกไซด์ที่มีต่อการปรับปรุงสมบัติของพลาสติกชีวภาพ (Influence of Epoxide Group in Epoxidized Natural Rubber on Improvement of Properties in Bioplastic)
สาขาวิชาการ : วิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย
ประเภทการวิจัย : การวิจัยพื้นฐาน (Basic research)
ปีงบประมาณ : 2563
ผู้ร่วมวิจัย : ผศ.ดร.วิไลวรรณ ลีนะกุล

ชื่อโครงการวิจัย ​: รูปแบบการจัดกิจกรรมรับน้องอย่างสร้างสรรค์สำหรับนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (Creative activities model of undergraduate students for the Faculty of Science and Technology, RMUTP)
สาขาวิชาการ : การศึกษา
ประเภทการวิจัย : การวิจัยพื้นฐาน (Basic research)
ปีงบประมาณ : 2563
ผู้ร่วมวิจัย : ผศ.ดร.วิไลวรรณ ลีนะกุล

ชื่อโครงการวิจัย ​: การประดิษฐ์เซรามิกเฟร์โรอิเล็กทริกไร้ตะกั่วในระบบบิสมัทโซเดียมโพแทสเซียมไททาเนตเป็นองค์ประกอบหลัก( Fabrication of lead-free ferroelectric ceramics from Bismuth sodium potassium titanate based systems)
สาขาวิชาการ : วิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์
ประเภทการวิจัย : การวิจัยประยุกต์ (Applied research) 
ปีงบประมาณ : 2561
ผู้วิจัย : ผศ.ดร.วิไลวรรณ ลีนะกุล

ชื่อโครงการวิจัย ​: การประดิษฐ์แก้วเซรามิกเฟร์โรอิเล็กทริกไร้ตะกั่วในระบบ ลิเทียมไนโอเบตและโพแทสเซียมโซเดียมไนโอเบตเป็นองค์ประกอบหลักด้วยวิธีอินคอเปอเรชัน (Fabrication of lead-free ferroelectric glass- ceramics from litium niobate and potassium sodium niobate-based systems by Incorporation Technique)
สาขาวิชาการ : วิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์
ประเภทการวิจัย : การวิจัยประยุกต์ (Applied research)
ปีงบประมาณ : 2561
ผู้วิจัย : ผศ.ดร.วิไลวรรณ ลีนะกุล

ชื่อโครงการวิจัย ​: การศึกษาแก้วเซรามิกชีวภาพที่ประกอบด้วยผลึกเฟอร์โร แมกเนติกระดับนาโนจากระบบที่มีและไม่มีซิลิกาเป็นองค์ประกอบด้วยวิธีอินคอเปอเรชัน (Studying of Bioactive glass-ceramic Containing Ferromagnetic Nanocrystalsfrom Silica and Non-silica Systemby Incorporation Technique)
สาขาวิชาการ : วิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
ประเภทการวิจัย : การวิจัยประยุกต์ (Applied research)
ปีงบประมาณ : 2559
ผู้วิจัย : ผศ.ดร.วิไลวรรณ ลีนะกุล

ชื่อโครงการวิจัย ​: การพัฒนาโครงสร้างสองชั้นระหว่างคอมโพสิตไฮดรอกซีอะพาไทต์-อลูมินาและเซอร์โคเนียเพื่อประยุกต์ใช้ทางการแพทย์ (Development of hydroxyapatite-alumina composite/3 mol% yttria tetragonal zirconia bilayer structure for biomedical application)
สาขาวิชาการ : วิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
ประเภทการวิจัย : การวิจัยประยุกต์ (Applied research)
ปีงบประมาณ : 2558
ผู้ร่วมวิจัย : ผศ.ดร.วิไลวรรณ ลีนะกุล

ชื่อโครงการวิจัย ​: การเตรียมและการวิเคราะห์แก้วและแก้วเซรามิกชีวภาพจากระบบ แคลเซียมโซเดียมฟอสเฟต (Preparation and Analysis of Bioactive Glasses and Glass- ceramics from Calcium Sodium Phosphate System)
สาขาวิชาการ : วิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
ประเภทการวิจัย : การวิจัยพื้นฐาน (Basic research)
ปีงบประมาณ : 2558
ผู้วิจัย : ผศ.ดร.วิไลวรรณ ลีนะกุล

ชื่อโครงการวิจัย ​: การประดิษฐ์แก้วเซรามิกชีวภาพที่ประกอบด้วยเฟอร์โร/เฟอริแมกเนติกคริสตัลระดับนาโน (Fabrication of bioactive glass-ceramics containing ferro/ferrimagnetic nanocrystals)
สาขาวิชาการ : วิทยาศาสตร์การแพทย์
ประเภทการวิจัย : การวิจัยพื้นฐาน (Basic research)
ปีงบประมาณ : 2557
ผู้วิจัย : ผศ.ดร.วิไลวรรณ ลีนะกุล

 

Publication

  • Arnon Kraipok, Teerapong Mamanee, Jetsada Ruangsuriya, and Wilaiwan Leenakul. 2021. Investigation of phase formation and mechanical properties of lithium disilicate glass-ceramic doped CeO2. Journal of Non-Crystalline Solids. 561(15), 120772.
  • Arnon KraipokPratthana IntawinPatamas BintachittWilaiwan LeenakulOrawan KhammanSukum EitssayeamTawee Tunkasiri, and Kamonpan Pengpat. 2021. Influence of heat treatment temperature on the properties of the lithium disilicate-fluorcanasite glass-ceramics. Journal of the American Ceramic Society. 19(3), 1415-1427.
  • Wilaiwan Leenakul, and Arnon Kraipok. 2021. Effect of increasing the Al2O3 content on the phase formation and mechanical properties of lithium disilicate glass-ceramics. Materials Research Express. 8(5), 055202.
  • Kraipok A., Intawin P., Kamnoy M., Inthong S., Leenakul W., Bintachitt P., Eitssayeam S., Khamman O., Tunkasiri T., and Pengpat K. 2021. Effect of PEG-based binder concentration on the mechanical roperties of lithium disilicate glass-ceramics prepared by low-pressure injection moulding, Processing and Application of Ceramics. 15(3), 238-245 
  • Wilaiwan Leenakul, Jetsada Ruangsuriya, and Kamonpan Pengpat. 2020. Phase Formation Study of BaFe12O19 in Bioactive Glass by Modified Processing Technique. Journal of Nanoscience and Nanotechnology.Science of Advanced Materials. 20, 222–228.
  • Manlika Kamnoy, Wilaiwan Leenakul, Pratthana Intawin, Uraiwan Intatha, and Sukum Eitssayeam. 2018. Effect of Heat Treatment Temperature on the Microstructure and Mechanical Properties of Li2O-SiO2-P2O5-Al2O3-K2O-CaO Glass-Ceramics. Science of Advanced Materials. 10(9), 1305-1309.
  • Wilaiwan Leenakul, Manlika Kamloy, and Sukum Eittsayeam. 2018. Effect of Heat Treatment Temperature Variations on the Structure and Mechanical Strength of Lithium Disilicate-Based Glass-Ceramics. Journal of Biomaterials and Tissue Engineering. 8(8), 1205-1208.
  • Pratthana Intawin, Wilaiwan Leenakul, Pongsakorn Jantaratana, Sukum Eitssayeam, Gobwute Rujijanagul, and Kamonpan Pengpat. 2017. Synthesis, structural and electrical properties of granular BT-NZF nanocrystals in silicate glass. Ceramics International. 43, S258 – S264. 
  • Kruea-In, C., Inthong, S., Boonchoo, T., Intawin, P., and Leenakul, W.2017. Fabrication and characterization of BNLT-BHF lead-free ceramics. Ferroelectrics. 511(1), 114-118. 
  • Leenakul, Wilaiwan, Tunkasiri Tawee, Tongsiri Natee and Pengpat Kamonpan,. 2016. Effect of sintering temperature variations on fabrication of 45S5 bioactive glass-ceramics using rice husk as a source for silica. Materials Science and Engineering: C. 61, 695-704.  
  • Thanaporn Boonchoo, Pratthana Intawin, and Wilaiwan Leenakul. 2016. Effect of MnFe2O4 and the heat treatment temperature on the Bioactive Glass Properties. Key Engineering Materials. 690, 137-142. 
  • Intawin, P., Leenakul, W., Yongsiri, P., Rujijanagul, G., and Pengpat, K., 2016. Fabrication and characterization of BaTiO3Ni0.8Zn0.2Fe2 O4-B2O3-Na2O-SiO2 multiferroic glass ceramics. Journal of Nanoscience and Nanotechnology. 16(12), 12866-12870.
  • Intawin, P., and Leenakul, W. 2016. Preparation and characterization of SrFe12O19 on optical and dielectric properties of Na2O-CaO-P2O5 glasses. Key Engineering Materials. 702, 3-7.
  • Leenakul, T. Tunkasiri, N. Tongsiri, K. Pengpat, and J. Ruangsuriya. 2016. Effect of sintering temperature variations on fabrication of 45S5 bioactive glass-ceramics using rice husk as a source for silica. Materials Science and Engineering: C. 61, 695–704.
  • Intawin, P. Butnoi, W. Leenakul, A. Munpakdee, T. Tunkasiri, and K. Pengpat. 2016. Effects of BST on Optical and Dielectric Properties of Na2O-B2O3-SiO2 Glasses. Key Engineering Materials. 675-676, 335-338.
  • Intawin,W. Leenakul, P. Jantaratana, A. Munpakdee, and K. Pengpat. 2015. Fabrication of SrFe12O19-P2O5-CaO-Na2O Bioactive Glass-Ceramics at Various Sintering Temperatures. Ferroelectrics. 489(1), 35-42.
  • Kruea-In, Chatchai, Intawin, Pratthana, and Leenakul, Wilaiwan. 2015. Preparation of Ferroelectric KNbO3 Based Borate Glass System.  Journal of Nanoscience and Nanotechnology. 15(11), 9256-9260(5).
  • Wilaiwan Leenakul, Pratthana Intawin, Tawee Tunkasiri, Jetsada Ruangsuriya, and Kamonpan Pengpat. 2015. Preparation of ferrimagnetic BF based silicate glass system. Ceramics International. 41(1), S464-S470. 
  • Intawin, P, Ruangsuriya, J, Tunkasiri, T, Pengpat, K, and Leenakul, W. 2015.  Influence of BaFe12O19 on Structure, Sintering and Bioactivity Behavior in Bioactive Glass. Journal of Computational and Theoretical Nanoscience. Journal of Magnetism and Magnetic Materials 12(5), 792-797. 
  • W. Leenakul, P. Kantha, N. Pisitpipathsin, G. Rujijanagul, S. Eitssayeam, and K. Pengpat. 2013. Structural and magnetic properties of SiO2-CaO-Na2O-P2O5 containing BaO-Fe2O3 glass ceramics. Journal of Magnetism and Magnetic Materials. 325, 102-106. 
  • Leenakul, S. Eitssayeam, G. Rujijangul, T. Tunkasiri, N. Tongsiri, and  K. Pengpat. 2013. Effects of Rice Husk as a Precursor on Crystalli zation Kinetic of 45S5 Bioactive Glass-Ceramics. Advanced Structured Materials.  29, 129-142.
  • Leenakul, P.Inthawin, J. Ruangsuriya, P. Jantaratana, and K. Pengpat. 2013. Magnetic bioactive SrFe12O19-SiO2-CaO-Na2O-P2O5 glass-ceramic for hyperthermia treatment of bone cancer. Integrated Ferroelectrics. 148(1), 81-89. 
  • Leenakul, J. Ruangsuriya, P. Jantaratana, and K.Pengpat. 2013. Fabrication and characterization of ferrimagnetic bioactive glass-ceramic containing BaFe12O19. Ceramics International. 39, 201-205.
  • Pratthana Intawin, Wilaiwan Leenakul, Pongsakorn Jantaratana, and  Kamonpan Pengpat. 2013. Fabrication and Magnetic Properties of P2O5-CaO-Na2O Bioactive Glass Ceramic Containing BaFe12O19. Ferroelectrics. 148(1), 171-177.
  • W. Leenakul, N. Pisitpipathsin, P. Kantha, N. Tawichai, S. Tigunta, S. Eitssayeam, G. Rujijanagul, Kamonpan Pengpat, and  A. Munpakdee. 2012. Characteristics of 45S5 Bioglass-ceramics Using Natural Raw Materials. Advanced Materials Research. 506, 174-177.
  • Pisitpipathsin, P. Kantha, P. Sriprapha, W. Leenakul, K. Pengpat, S. Eitssayeam, and G. Rujijanagul. 2012. Effect of BaZr0.05Ti0.95O3 Additions on Microstructure and Piezoelectric Properties of Hydroxyapatite Bone. Advanced Materials Research. 506, 166-169.
  • Tigunta, W. Leenakul, S. Eitssayeam, G. Rujijanagul, T. Tunkasiri, and K. Pengpat. 2012. Phase Formation of Hydroxyapatite Particles at Different Calcination Temperatures. Advanced Materials Research. 506, 170-173.
  • Kantha, K. Pengpat, N. Pisitpipathsin, W. Leenukul, and S. Sirisoonthorn. 2011. Enhanced Electrical Properties of Lead-Free Bi2GeO5 Ferroelectric Glass Ceramics by Thermal Annealing. Integrated Ferroelectrics. 416(1), 158-167.
  • Pisitpipathsin, K. Pengpat P. Kantha, and W. Leenakul. 2010. Dielectric properties of lead-free solid solution of Bi0.489Na0.487La0. Journal Articles. 83(10-11), 875-883.
  • Leenakul and N. Tippayawong. 2010. Dilute Acid Pretreatment of Bamboo for Fermentable Sugar Production. Journal of Sustainable Energy & Environment. 1, 117-120.

 

Conference

  • Poster Presentation Award in The international conference on Chiang Mai International Conference on Biomaterial & Applications 2011 (CMICBA 2011)

 

ผลงานวิจัยผ่านสื่อมวลชน

  • วิไลวรรณ ลีนะกุล. การผลิตแก้วจากวัตถุดิบเหลือใช้ทางธรรมชาติ สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก ช่อง 5. 14 มีนาคม 2558.

 

รางวัล

  • วิไลวรรณ ลีนะกุล. รางวัลนักวิจัยรุ่นใหม่ดีเด่น “นักวิจัยรุ่นใหม่ ระดับดีเด่น” สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จากเครือข่ายวิจัยประชาชื่น, ณ ห้อง Auditorium มหาวิทยาลัยรังสิต, 28 เมษายน 2560
  • วิไลวรรณ ลีนะกุล. รางวัลนักวิจัยรุ่นใหม่ดีเด่น สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2558 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร, 18 มกราคม 2559

 

การนำผลงานไปใช้ประโยชน์

  • วิไลวรรณ ลีนะกุล. ผลงานที่นำไปใช้ประโยชน์ แก้วคริสตัล ประเภทการนำไปใช้ประโยชน์ เชิงวิชาการ หน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ งานประชุมนานาชาติ ICONSCI 5, 17  กรกฎาคม 2557

 

ทรัพย์สินทางปัญญา

  • วิไลวรรณ ลีนะกุล. แก้วชีวภาพจากแกลบและกระดูกสัตว์เพื่อให้เป็นกระดูกเทียม ยื่นขอจดวันที่ 20 กรกฎาคม 2554 เลขที่คำขอ 1101002201