Asst.Prof.Dr.Woravith Chansuvarn, Ph.D

ผศ.ดร.วรวิทย์  จันทร์สุวรรณ
Asst.Prof. Dr.Woravith  Chansuvarn
——————————————————————————————————
ตำแหน่ง : หัวหน้าหมวดวิชาวิทยาศาสตร์
Contact
: (+66) 0-2836-3000
E-mail : woravith.c@rmutp.ac.th
EducationCurrent ResearchExpertiseResearch ProjectPublicationตำรา
Ph.D. Chemistry (Analytical Chemistry) Chulalongkorn University, Thailand 2012
M.Sc. Chemistry (Analytical Chemistry) Chaing Mai University, Thailand 2004
B.Sc. Chemistry (2nd Hons) Kanchanaburi Rajabhat University, Thailand 2000
  • การตรวจสอบองค์ประกอบทางพฤกษเคมีและความสามารถในการออกฤทธิ์ของน้ำสกัดน้ำมันหอมระเหยจากใบขลู่ สู่การพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ลดการอักเสบของผิวหนัง
  • ความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระโดยรวมของน้ำสกัดน้ำมันหอมระเหยจากใบพลู
  • เคมีวิเคราะห์ทางสิ่งแวดล้อม (Environmental Analytical Chemistry)
  • เคมีวิเคราะห์ทางอาหารและโภชนาการ (Analytical chemistry for Food)
  • วัสดุนาโน (Nanomaterial)
  • การพัฒนาตัวดูดซับโลหะหนัก (Haevy metal adsorbent)
  • การตรวจวัดเซนเซอร์ทางเคมี (Chemisal Sensor Detection)
  • การวิเคราะห์ทางสเปกโทรสโกปี (Spectroscopic analytical method)

ชื่อโครงการวิจัย ​: การตรวจสอบองค์ประกอบทางพฤกษเคมีและความสามารถในการออกฤทธิ์ของน้ำสกัดน้ำมันหอมระเหยจากใบขลู่ สู่การพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ลดการอักเสบของผิวหนัง (Evaluation of Phytochemical Properties and Bioactive Potential of Hydrosol Water from Indian Marsh Fleabane for Skin Anti-Inflammation Product)
สาขาวิชาการ : วิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
ประเภทการวิจัย : การวิจัยพื้นฐาน (Basic research)
ปีงบประมาณ : 2564
ผู้วิจัย : วรวิทย์ จันทร์สุวรรณ

ชื่อโครงการวิจัย ​: ความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระโดยรวมของน้ำสกัดน้ำมันหอมระเหยจากใบพลู (Total Antioxidant Capacity of Piper Betel Hydrosol)
สาขาวิชาการ : วิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
ประเภทการวิจัย : การวิจัยพื้นฐาน (Basic research)
ปีงบประมาณ : 2564
ผู้ร่วมวิจัย : วรวิทย์ จันทร์สุวรรณ

ชื่อโครงการวิจัย ​: สารต้านอนุมูลอิสระโดยรวมจากดอกไม้ไทยกินได้ ( Total Antioxidant capacity from edible Thai flower)
สาขาวิชาการ : วิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
ประเภทการวิจัย : การวิจัยพื้นฐาน (Basic research)
ปีงบประมาณ : 2563
ผู้ร่วมวิจัย : วรวิทย์ จันทร์สุวรรณ

ชื่อโครงการวิจัย ​: การกำจัดโลหะหนักจากสารละลายโดยตัวดูดซับจากวัสดุชีวภาพ (Bioadsorbents for the removal of heavy metals from an aqueous solution)
สาขาวิชาการ : วิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
ประเภทการวิจัย : การวิจัยพื้นฐาน (Basic research)
ปีงบประมาณ : 2563
ผู้วิจัย : วรวิทย์ จันทร์สุวรรณ

ชื่อโครงการวิจัย ​: การเพิ่มมูลค่าของเปลือกกล้วยเหลือทิ้ง เพื่อกำจัดสารพิษในน้ำ (Low cost bio-sorbent banana peel for the removal of toxics removal of toxic substances from water)
สาขาวิชาการ : วิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์
ประเภทการวิจัย : การวิจัยพื้นฐาน (Basic research)
ปีงบประมาณ : 2562
ผู้ร่วมวิจัย : วรวิทย์ จันทร์สุวรรณ

ชื่อโครงการวิจัย ​: การพัฒนาหลักสูตรระยะสั้นด้านการผลิตเคมีภัณฑ์ในครัวเรือน ( Development of short courses in the production of household chemicals)
สาขาวิชาการ : การศึกษา
ประเภทการวิจัย : การวิจัยประยุกต์ (Applied research)
ปีงบประมาณ : 2562
ผู้ร่วมวิจัย : วรวิทย์ จันทร์สุวรรณ

ชื่อโครงการวิจัย ​: พฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการประหยัดพลังงานไฟฟ้า ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (THE BEHAVIOUR IS PARTICIPATION IN ELECTRICAL ENERGY SAVING OF UNDERGRADUATE STUDENTS FACULTY OF SCIENCE AND TECHNOLOGY RAJAMANGALA UNIVERSITY OF TECHNOLOGY PHRA NAKHON)
สาขาวิชาการ : วิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์
ประเภทการวิจัย : การวิจัยประยุกต์ (Applied research)
ปีงบประมาณ : 2561
ผู้ร่วมวิจัย : วรวิทย์ จันทร์สุวรรณ

ชื่อโครงการวิจัย ​: การดูดซับโลหะหนักโดยใช้เรซินแลกเปลี่ยนไอออนที่ทำจากผงไผ่และการดัดแปรพื้นผิวด้วยแมงกานีสออกไซด์ (Heavy metal adsorption by ion exchange resin made from bamboo dust and surface modification with manganese oxide)
สาขาวิชาการ : วิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
ประเภทการวิจัย : การวิจัยพื้นฐาน (Basic research)
ปีงบประมาณ : 2561
ผู้วิจัย : วรวิทย์ จันทร์สุวรรณ

ชื่อโครงการวิจัย ​: การพัฒนาระบบสารสนเทศในการจัดการทรัพยากรและฐานข้อมูล (Development of Information System for Managing Resources and Database)
สาขาวิชาการ : เทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์
ประเภทการวิจัย : การวิจัยประยุกต์ (Applied research)
ปีงบประมาณ : 2561
ผู้วิจัย : วรวิทย์ จันทร์สุวรรณ

ชื่อโครงการวิจัย ​: การทดสอบการใช้ได้ของวิธีการสกัดอาร์เซนิกทั้งหมดด้วยเทคนิคการย่อยด้วยคลื่นไมโครเวฟ (Validation method for determination of total arsenic using microwave digestion technique)
สาขาวิชาการ : วิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์
ประเภทการวิจัย : การวิจัยพื้นฐาน (Basic research)
ปีงบประมาณ : 2560
ผู้วิจัย : วรวิทย์ จันทร์สุวรรณ

ชื่อโครงการวิจัย ​: ความสัมพันธ์ของการกระจายตัวของสารป้องกันกำจัดศัตรูพืชตกค้างในดินเพาะปลูกข้าวและระดับการปนเปื้อนในเมล็ดข้าว (Correlation of the distribution of pesticide residues in rice farming and contaminated levels in rice grain)
สาขาวิชาการ : วิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
ประเภทการวิจัย : การวิจัยพื้นฐาน (Basic research)
ปีงบประมาณ : 2559
ผู้วิจัย : วรวิทย์ จันทร์สุวรรณ

ชื่อโครงการวิจัย ​: การดัดแปลงพื้นผิวตัวดูดซับสำหรับกำจัดไอออนตะกั่วจากสารละลาย (Modification of adsorbent surface for removal of lead(II) ion from aqueous solution)
สาขาวิชาการ : วิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
ประเภทการวิจัย : การวิจัยพื้นฐาน (Basic research)
ปีงบประมาณ : 2559
ผู้วิจัย : วรวิทย์ จันทร์สุวรรณ

ชื่อโครงการวิจัย ​: ประสิทธิภาพการดูดซับไอออนตะกั่วจากสารละลายโดยใช้อิฐมวลเบาเป็นตัวดูดซับ ( Adsorption efficiency of lead(II) ion from aqueous solution by using an aerated concrete as adsorbent)
สาขาวิชาการ : วิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
ประเภทการวิจัย : การวิจัยประยุกต์ (Applied research)
ปีงบประมาณ : 2558
ผู้วิจัย : วรวิทย์ จันทร์สุวรรณ

ชื่อโครงการวิจัย ​: ชุดกรองน้ำอย่างง่ายในครัวเรือนสำหรับกำจัดสนิมเหล็กและความกระด้างถาวรของระบบน้ำประปาหมู่บ้านเพื่อการอุปโภคและบริโภค ( Homemade water filtration for removal of iron and permanent hardness from tab water system for using consume and consumption)
สาขาวิชาการ : วิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
ประเภทการวิจัย : การพัฒนาทดลอง (Experimental development)
ปีงบประมาณ : 2558
ผู้วิจัย : วรวิทย์ จันทร์สุวรรณ

ชื่อโครงการวิจัย ​: การพัฒนาวิธีใหม่สำหรับการวิเคราะห์เมลามีนโดยวิธีสเปกโทโฟโตเมทรี (A NOVEL SPECTROPHOTOMETRIC METHOD FOR DETERMINATION OF MELAMINE)
สาขาวิชาการ : วิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช
ประเภทการวิจัย : การวิจัยประยุกต์ (Applied research)
ปีงบประมาณ : 2554
ผู้ร่วมวิจัย : วรวิทย์ จันทร์สุวรรณ

  • วรวิทย์ จันทร์สุวรรณ. 2014. การออกแบบเซนเซอร์ทางเคมีสำหรับตรวจวัดไอออนปรอทด้วยตาเปล่า The Design of Chemosensors for Naked-Eye Detection of Mercury(II) Ion. วารสารวิทยาศาสตร์ มข. 42, pp. 748-760.
  • W. Chansuvarn, A. Imyim. 2012. Visual and colorimetric detection of mercury (II) ion using gold nanoparticles stabilized with a dithia-diaza ligand. Microchimica Acta. 176, pp. 56-67.
  • W. Chansuvarn, S. Panich, A. Imyim. 2013. Simple spectrophotometric method for determination of melamine in liquid milks based on green Mannich reaction. Spectrochimica Acta Part A: Molecular and Biomolecular Spectroscopy. 113. pp. 154-158.
  • W. Chansuvarn, T. Tuntulani, A. Imyim. 2015. Colorimetric detection of mercury (II) based on gold nanoparticles, fluorescent gold nanoclusters and other gold-based nanomaterials. TrAC Trends in Analytical Chemistry. 65, pp. 83-96.
  • W. Chansuvarn,  K. Jainae. 2015. Adsorption of Pb(II) from aqueous solution onto manganese oxide-modified laterite soil. Proceedings 2015 International Conference on Science and Technology, TICST 2015, pp. 198-205.

ประชุมวิชาการ

  •  Woravith Chansuvarn and Pratuangtip Rojanavipat. 2014. Value addition of waste building material for removal of lead(II) ion from aqueous solution. The 5th RMUTP international conference on science, technology, and innovation for sustainable development: the road towards a green future. Bangkok. Thailand. 17-18 July 2014. (Poster presentation).
  • Woravith Chansuvarn. 2014. Adsorption of Pb(II) from aqueous solution using an autoclaved aerated concrete. 5th RMUTIC: Technology and innovation towards ASEAN. PhraNakhon Si Ayutthaya. Thailand, 23-25 July 2014. (Poster presentation).
  • Woravith Chansuvarn. 2015. Kunawoot Jainae and Supattra Chansuvarn. Quality of groundwater for producing village tap water in Samchuk district, Suphanburi province. The 6th RMUTIC: Green Innovation for a Better Life. Nakhon Ratchasima. Thailand. 1-3 September 2015. (Poster presentation).

รางวัลที่ได้รับ

  • ผศ.ดร.วรวิทย์ จันทร์สุวรรณ ได้รับเกียรติบัตรรางวัลผลงานวิจัยดีเด่น ภาคบรรยาย เรื่อง การพัฒนาผลิตภัณฑ์ฆ่าเชื้อโควิด-19 ที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระจากสารสกัดดอกขลู่ การประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ครั้งที่ 4 “วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมสร้างสรรค์ เพื่อก้าวผ่านสถานการณ์ COVID – 19” ณ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วันที่ 30 สิงหาคม 2564

การนำผลงานไปใช้ประโยชน์

  • ชื่อโครงการ การตรวจสอบองค์ประกอบทางพฤกษเคมีและความสามารถในการออกฤทธิ์ของน้ำสกัดน้ำมันหอมระเหยจากใบขลู่ สู่การพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ลดการอักเสบของผิวหนัง ได้นำผลงานวิจัยเกี่ยวกับองค์ประกอบทางเคมีของสารสกัดใบขลู่ ไปพัฒนาผลิตภัณฑ์ร่วมกับหน่วยงานภายนอก ด้านการใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์
  • ชื่อโครงการ ความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระโดยรวมของน้ำสกัดน้ำมันหอมระเหยจากใบพลู ได้นำผลงานวิจัยเกี่ยวกับความสามารถต้านอนุมูลอิสระของใบพลู ไปพัฒนาผลิตภัณฑ์ร่วมกับหน่วยงานภายนอก ด้านการใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์
  • ชื่อโครงการ การกำจัดโลหะหนักจากสารละลายโดยตัวดูดซับจากวัสดุชีวภาพ ได้นำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์โดยหน่วยงานภายนอก โดย บ.ผลิตภัณฑ์ใบพลูไทย จำกัด

 

scopus_logo

Loading